เซต


เซต (Set)
เซต เป็น สัญลักษณ์ในภาษาคณิตศาสตร์  ใช้แทนกลุ่มของคน สิ่งของ หรือตัวเลข ต่าง ๆ

ลักษณะทั่วไปของเซต


เซตสามารถเขียนได้ แบบ คือ
1.      แบบแจกแจงสมาชิก    เช่น    {1,2,3}   *1
2.      แบบบอกเงื่อนไขสมาชิก    เช่น    {x | x = 2n ; n = 1,2,3, …}  *2

และเซต แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ
1.      เซตจำกัด      คือ       เซตที่สามารถบอกจำนวนสมาชิกได้   
2.      เซตอนันต์      คือ       เซตที่ไม่สามารถบอกจำนวนสมาชิกที่แน่นอนได้   
เซตที่มีบทบาทที่ควรรู้จัก     คือ                   */คือ ประมาณว่า จำเป็นต้องรู้ อ่ะนะ/*
1.      เซตว่าง     คือ    เซตที่ไม่มีสมาชิกเลย เป็น เซตจำกัด  เขียนแทนด้วย f หรือ {}   
2.      เอกภพสัมพัทธ์     คือ     เซตที่ใหญ่ที่สุด  โดยเซตทุกตัวที่เราศึกษาอยู่จะอยู่ในเซตนี้  เขียนแทนด้วย  (หาตัว universe ไม่เจอง่ะ ....  แทน ด้วยตัว ไปก่อนนะ  เด๋วจะวาดรูปจริง ๆ ให้ดู)  เอกภพสัมพัทธ์จะเป็นเซตจำกัดหรือเซตอนันต์ก็ได้ ขึ้น อยู่กับโจทย์  กำหมดมาให้  ถ้าโจทย์ไม่ได้กำหนดมาให้  ถือว่า เอกภพสัมพัทธ์คือเซตของจำนวนจริง

การเปรียบเทียบระหว่างเซต
1.      การเท่ากันของเซต     เซตที่เท่ากันต้องมีสมาชิกเหมือนกันทุกตัว     *3
3.      การเทียบเท่าของเซต      เซตที่เทียบเท่ากัน  จะมีจำนวนสมาชิกเท่ากัน    *4

การเป็นสมาชิก (Î)  และเป็นสับเซต (Ì)

ΠB    อ่านว่า    เป็นสมาชิกของเซต B ก็ต่อเมื่อ A จะต้องเป็นสมาชิกตัวหนึ่งตัวใดในเซต B   *5
Ì B     อ่านว่า    เซต เป็นสับเซตของเซต B ก็ต่อเมื่อ  สมาชิกภายในเซต ทุกตัว จะต้องเป็นสมาชิกของเซต B  *6
สมบัติของสับเซต  โดยที่ A, B เป็นเซตใด ๆ
1.      f Ì A และ Ì A  เสมอ
2.      A = B  ก็ต่อเมื่อ Ì B และ B Ì A
3.      Ì B ก็ต่อเมื่อ  B' Ì A'
4.      ถ้า Ì B และ Ì C แล้ว Ì C

การสร้างสับเซตของเซตที่ทราบจำนวนสมาชิก

มีสมาชิก n  ตัว  สร้างสับเซตทั้งหมดของ ที่มีสมาชิก ตัว  ได้ nCr  สับเซต  (เรื่องการจัดเรียง ตอน ม.ม้าง...นะถ้าไม่เข้า ใจ ต้องการคำอธิบาย เพิ่มเติม บอกได้นะ) เช่น  ถ้า A={1,2,3,4,5} ต้องการ สับเซตของ ที่มีจำนวน สมาชิก  ตัว  เราก็จะได้  {1,2},{1,3},{1,4},{1,5},…,{4,5} แบบนี้  ถ้าเรานับก็จะได้  ...  (เท่านั้นแหละ  ลองเขียนดู)  มาเรามาใช้สูตรกัน  5C2 ก็จะได้ 30 จำนวน  นั่นเอง

เพาเวอร์เซต (Power Set)    P(A)   อ่านว่า    เพาเวอร์เซต A


P(A) หมายถึง เซตของสับเซตทั้งหมดของ A    นั่นคือ    P(A) = {X | X Ì A} หรือ Ì P(A) ก็ต่อเมื่อ Ì A

สมบัติของเพาเวอร์เซต  โดยที่  A, B เป็นเซตใด ๆ
1.      ถ้า เป็นเซตจำกัด และมีสมาชิก ตัว  จะได้ P(A) เป็นเซตจำกัดมี จำนวน สมาชิก 2n ตัว
2.      Î P(A)  ก็ต่อเมื่อ  Ì A  จึงทำให้  f Î P(A) และ Î P(A)
3.      P(A) ¹ f โดยที่ P(f) = {fและ P(A) ¹ A
4.      Ì B ก็ต่อเมื่อ P(A) Î P(B)
5.      P(A) Ç P(B) = P(A Ç B)
6.      P(A) È P(B) Ì P(A È B


ที่มา  :  http://greetinghow.tripod.com/set.htm







ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น